1.คุณลักษณะทั่วไป
เป็นกล้องวัดมุมและวัดระยะอยู่ในเครื่องเดียวกัน และใช้แกนร่วมกัน (TOTAL STATION) ใช้วัดมุม ค่าพิกัดระยะทางได้ทันทีในสนาม ประกอบด้วยอุปกรณ์ครบชุด
2.คุณสมบัติทางเทคนิค
2.1 ระบบกล้องเล็งที่หมาย (TELESCOPE SYSTEM)
2.1.1 ภาครับและภาคส่งของเครื่องวัดระยะอิเล็คทรอนิคจะต้องถูกประกอบอยู่ในกล้องเล็ง สาหรับวัดมุม ซึ่งมีแกนร่วมกัน และสามารถหมุนได้รอบตัว
2.1.2 เส้นผ่าศูนย์กลางเลนส์ปากกล้องเล็ง (OBJECTIVE APERTURE) มีขนาด 45 มิลลิเมตร มีกาลังขยาย 30 เท่า ให้ภาพหัวตั้ง
2.1.3 ให้มุมมองภาพกว้าง (FIELD OF VIEW) 1 องศา 30 ลิปดา
2.1.4 มีระยะชัดใกล้สุด 1.30 เมตร
2.1.5 มีระบบแสงสว่างภายในสามารถปรับแสงสว่างได้ 5 ระดับ
2.1.6 มีลาแสงเลเซอร์ชนิดมองเห็นเพื่อเล็งที่หมายและสามารถ เปิดและปิดลาแสง ขณะทาการรังวัดระยะได้
2.2 ระบบการวัดมุม
2.2.1 การวัดมุมใช้ระบบ ABSOLUTE READING
2.2.2 ระบบล็อคจานองศาราบและดิ่งเป็นชนิดโลหะแบบล็อคโดยหมุนเกลียว
2.2.3 ค่ามุมราบและมุมดิ่งน้อยที่สุด ที่สามารถอ่านได้ (MINIMUM READING) 1 ฟิลิปดา
2.2.4 ความละเอียดถูกต้อง(ACCURACY)หรือค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการวัดมุมราบและมุมดิ่ง 5 ฟิลิปดา
2.2.5 ความไวของหลอดระดับแบบอิเลคทรอนิค 6 ลิปดาและระดับฟองกลมที่ฐานกล้อง 10 ลิปดา ต่อ 2 มิลลิเมตร
2.2.6 มีกล้องส่องหัวหมุดติดกับตัวกล้อง (PLUMMET) กาลังขยาย 3เท่าและมีระยะโฟกัสภาพชัดใกล้สุด 0.3 เมตร
2.2.7 COMPENSATOR เป็นแบบ DUAL-AXIS LIQUID TILT SENSOR เพื่อปรับค่าความคลาดเคลื่อนขององศาราบและองศาดิ่งโดยอัตโนมัติ โดยมีช่วงการทางาน +/-6ลิปดา
2.3 ระบบการวัดระยะ (DISTANCE MEASUREMENT)
2.3.1 ในสภาวะอากาศปกติ ซึ่งมีทัศนวิสัยประมาณ 20 กิโลเมตร เมื่อวัดระยะโดยใช้
- ปริซึมชนิดดวงเดียว วัดระยะทางได้ตั้งแต่ 1.3 ถึง 4,000 เมตร
- ไม่ใช้ปริซึม วัดระยะทางได้ตั้งแต่ 0.3 ถึง 350 เมตร
2.3.2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (STANDARD DEVIATION) ของการวัดระยะโดยใช้ปริซึม (2 mm +2 ppm) m.s.e. และการวัดระยะโดยไม่ใช้ปริซึม (3 mm +2 ppm) m.s.e.
2.2.3 มีปุ่มสาหรับวัดระยะทางอย่างน้อย 2 ปุ่ม โดยสามารถตั้งค่าให้วัดระยะทางและบันทึกค่าได้โดยอัตโนมัติ
2.3.4 สามารถปรับแก้ค่าคงที่ของปริซึม (PRISM CONSTANT CORRECTION) ได้ตั้งแต่ -99 mm ถึง +99 mm
2.3.5 สามารถปรับแก้ค่าหักเหของคลื่นในชั้นบรรยากาศ (ASMOSPHERIC CORRECTION) โดยการป้อนค่าอุณหภูมิและความกดอากาศได้ตั้งแต่ -499 ppm ถึง +499 ppm
2.3.6 สามารถใช้งานได้ดีในสภาวะอุณหภูมิ –20องศาเซลเซียสถึง 60 องศาเซลเซียส
2.3.7 มีเสียงแสดงสัญญาณคลื่นแสงสะท้อนกลับ
2.3.8 เวลาในการวัดแบบละเอียด 1 มิลลิเมตรใช้เวลาไม่เกิน 0.9 วินาที
2.4 ระบบการควบคุม ระบบการแสดงผล การถ่ายทอดข้อมูล และแบตเตอรี่
2.4.1 มีหน้าจอแสดงผลเป็นแบบ Graphic LCD แสดงผลได้ 192x80 จุด พร้อมไฟส่องสว่าง
2.4.2 มีหน่วยความจาภายในตัวกล้องสาหรับบันทึกข้อมูลการรังวัดในสนามได้ 10,000 จุด
2.4.3 มีพอร์ตสาหรับรับส่งข้อมูลตามมาตรฐานแบบ RS-232C
2.4.4 มีพอร์ตสาหรับ USB Flash Drive ซึ่งรอบรับความจุอย่างน้อย 8 GB เพื่อการรับส่งข้อมูล
2.4.5 ตัวกล้องสามารถป้องกันความชื้นและน้า (WATER PROTECTION) ในระดับ IP66
2.4.6 มีปุ่มควบคุมการใช้งานไม่น้อยกว่า 24 ปุ่มสามารถใส่ค่าตัวเลขและตัวอักษรได้โดยตรง
2.4.7 แบตเตอรี่ขนาดมาตรฐานสามารถทางานได้ 15 ชั่วโมงต่อก้อน
2.5 ความสามารถพื้นฐาน
2.5.1 สามารถวัดความสูงของตาแหน่งที่ไม่สามารถวางปริซึมได้ (Remote Elevation Measurement)
2.5.2 สามารถวัดระยะระหว่างจุดที่มีสิ่งกีดขวางแนวเล็งได้ (Missing Line Measurement)
2.5.3 สามารถกาหนดทิศทางอ้างอิง โดยการป้อนใส่ค่าพิกัดของจุดอ้างอิง
2.5.4 มีฟังก์ชันการทางานเพื่อค้นหาจุดหรือกาหนดจุดในสนามได้ (Setting Out)
2.5.5 มีฟังก์ชันรังวัดเพื่อหาค่าพิกัดของจุดตั้งกล้อง (Resection)
2.5.6 สามารถคานวณพื้นที่ (Area Calculation) ได้
3.อุปกรณ์ประกอบกล้องสารวจแบบประมวลผล
4.เงื่อนไขคุณลักษณะบังคับทุกประการ